Knowledge Center

ทำตาม 3 วิธีนี้! ก็สามารถยืนยันตัวตนเป็น Lazada Seller ได้ พร้อมยอดขายปัง ๆ  

ขายของออนไลน์

หากคุณกำลังมองหาช่องทางสร้างรายได้ออนไลน์ การเป็น Lazada Seller จึงเป็นโอกาสทองสำหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นธุรกิจออนไลน์ ด้วยระบบการจัดการร้านค้าที่ใช้งานง่าย ทำให้ผู้ขายสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าคุณจะเป็นพ่อค้าแม่ค้ามือใหม่ก็ตาม วันนี้ MyCloud จะแนะนำวิธีการยืนยันตัวตนที่จะช่วยให้กระตุ้นยอดขายได้มากยิ่งขึ้น ในบทความนี้กัน 

Lazada Seller คืออะไร 

Lazada Seller เป็นผู้ขายที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการบนแพลตฟอร์ม Lazada โดยผู้ขายจะได้รับสิทธิประโยชน์มากมาย เช่น การใช้งานระบบจัดการร้านค้าที่ทันสมัย เครื่องมือวิเคราะห์ยอดขายแบบเรียลไทม์ ระบบจัดการสต๊อกสินค้าอัตโนมัติและการเข้าร่วมแคมเปญการตลาด เพื่อกระตุ้นยอดขาย นอกจากนี้ยังมีระบบการชำระเงินที่ปลอดภัย บริการขนส่งที่รวดเร็วและทีมซัพพอร์ตที่พร้อมให้คำปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้การขายสินค้าออนไลน์ของคุณเป็นไปได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ 

3 วิธียืนยันตัวตนสำหรับร้านค้าใหม่บน Lazada 

หลังจากลงทะเบียนเปิดร้านบน Lazada Seller เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนสำคัญที่จะทำให้ร้านค้าของคุณได้รับการอนุมัติและสามารถเริ่มขายสินค้าได้ คือการยืนยันตัวตน ซึ่งมีวิธีการที่ทำได้ง่าย ๆ 3 วิธี โดยคุณสามารถเลือกวิธีที่สะดวกที่สุดได้ตามต้องการ

แม่ค้ามือใหม่กำลังยืนบันตัวตนร้านค้าใหม่

1. ยืนยันตัวตนผู้ขาย 

ขั้นตอนการยืนยันตัวตนเพื่อเป็น Lazada Seller นั้น สามารถทำตามขั้นตอนง่าย ๆ ได้ ดังนี้ 

  1. กรอกอีเมลของผู้ขาย เพื่อความปลอดภัย
  2. จากนั้นให้กรอกที่อยู่ของร้านค้าหรือบริษัทที่จะใช้เป็นชื่อผู้จัดส่งสินค้า 
  3.  ขั้นตอนต่อมาแนบรูปบัตรประชาชนของเจ้าของร้าน และสมุดบัญชีเป็นช่องทางในการรับเงิน
  4. อย่าลืมลงสินค้าชิ้นแรก พร้อมรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อยืนยันตัวตนผู้ขายให้สำเร็จอีกด้วยนะ   

2. ลงสินค้าเพื่อเพิ่มยอดขาย 

เพื่อยอดขายสุดปัง หากลงทะเบียนเป็น Lazada Seller สำเร็จแล้วตามขั้นตอนที่กล่าวไปด้านบน แนะนำให้ลงสินค้าในร้านให้ได้ 10 ชิ้นขึ้นไป พร้อมทั้งลงรายละเอียดสินค้า เช่น ชื่อสินค้า รายละเอียดสินค้า หมวดหมู่สินค้า ราคา ฯลฯ ให้ครบถ้วน พร้อมเข้าร่วมโปรแกรมสุดปัง พิเศษ! สำหรับร้านค้าที่เข้าร่วมใหม่กับทาง Lazada จะได้รับโค้ดส่งฟรี และคูปองเงินคืนทุกวัน 30 วัน สามารถเช็กรายละเอียดข้อมูลต่าง ๆ ได้ที่หน้า Lazada Program เพียงเท่านี้ก็จะช่วยให้มียอดขายมากยิ่งขึ้น 

3. เข้าร่วมแคมเปญสุดปังบน Lazada

หลายคนอาจจะสงสัยว่า ยืนยันตัวตนแล้ว พร้อมลงสินค้าไปมากกว่า 10 ชิ้นแล้ว แต่ยอดขายก็ยังไม่ค่อยโอเค แนะนำให้เข้าร่วมแคมเปญดี ๆ เช่น Mid Month วันเลขเบิ้ล หรือ Payday ที่จะจัดขึ้นในทุก ๆ เดือน ก็จะช่วยเพิ่มโอกาสในการมองเห็นร้านค้าของคุณได้ พร้อมกับยอดขายที่เพิ่มขึ้นแบบปัง ๆ อย่างไรก็ตาม สามารถติดตามแคมเปญสุดคุ้มเหล่านี้ได้ การที่ร้านค้าจะเข้าร่วมแคมเปญดี ๆ เหล่านี้ได้ หลายแพลตฟอร์มขายของออนไลน์ก็มักจะมีเงื่อนไขในการเข้าร่วมด้วยเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการรักษาระดับคะแนนร้านค้าให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี รวมไปถึงการจัดส่งสินค้าที่ตรงเวลาตามที่ SLA กำหนด เพราะหากไม่เข้าเกณฑ์เงื่อนไขของแพลตฟอร์มนั้น ๆ ก็อาจจะทำให้เข้าร่วมแคมเปญได้ยาก 

Order Management System

ทั้งนี้ เมื่อคุณเริ่มมียอดขายเข้ามามากขึ้น การจัดการออเดอร์จำนวนมากอาจเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก MyCloud เราคือคลังสินค้าออนไลน์ที่จะเข้ามาช่วยจัดการออเดอร์ให้คุณได้อย่างครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องระบบจัดการออเดอร์ Order Management System (OMS) ให้คุณสามารถจัดการทุกออเดอร์คำสั่งซื้อจาก Lazada ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการปริ้นใบปะหน้าพัสดุ การอัปเดตสถานะการจัดส่งหรือการจัดการสต๊อกสินค้าแบบเรียลไทม์ ทำให้การขายของคุณราบรื่นยิ่งขึ้น และยังสามารถเพิ่มจำนวนคนจัดการออเดอร์ในวันแคมเปญได้ตลอด เพื่อให้ช่วงที่มีออเดอร์เยอะ ๆ จัดการและจัดส่งได้ทัน การันตีการจัดส่งภายใน 24 ชั่วโมง 99.5% และรับรองความถูกต้องของออเดอร์ได้ถึง 99.9% เลย 

สรุปบทความ 

โอกาสทองทางธุรกิจที่จะช่วยกระตุ้นยอดขาย การสมัครเป็น Lazada Seller ก็ถือเป็นอีกตัวเลือกสำหรับผู้ที่เริ่มต้นขายออนไลน์เช่นกัน โดยสามารถสมัครและยืนยันตัวตนได้ไม่ยุ่งยาก เริ่มจากการกรอกข้อมูลพื้นฐานและอัปโหลดเอกสารสำคัญ ที่สำคัญที่สุดเลย คือการลงสินค้าอย่างน้อย 10 รายการพร้อมรายละเอียดที่ครบถ้วน และเข้าร่วมแคมเปญการตลาดต่าง ๆ ที่ Lazada จัดขึ้น เช่น Mid Month, Payday หรือวันเลขเบิ้ล นอกจากนี้ ร้านค้าใหม่ยังได้รับสิทธิพิเศษมากมาย ทั้งโค้ดส่งฟรีและคูปองเงินคืนในช่วง 30 วันแรก ซึ่งจะช่วยกระตุ้นยอดขายให้เติบโตได้อย่างรวดเร็วนั่นเอง  โอกาสทองทางธุรกิจที่จะช่วยกระตุ้นยอดขาย สำหรับ Lazada Seller มือใหม่ ช่วยให้การขายใน Lazada ง่ายขึ้นไปอีก MyCloud ช่วยจัดการออเดอร์ของคุณได้อย่างมีประสิทธิภาพและจัดส่งให้ตรงเวลา ด้วยระบบ Order Management System (OMS) ช่วยแก้ปัญหานี้ได้อย่างตรงจุดและสามารถจัดการออเดอร์ให้จัดส่งภายใน 24 ชม. รองรับการขยายธุรกิจของคุณได้อย่างมืออาชีพ ไม่เพียงเตรียมความพร้อมในเรื่องของพนักงานแพ็คสินค้า แต่เรายังมีพื้นที่ที่พร้อมรองรับการขยายนี้ได้มากถึง 3.5 เท่า พร้อมฟีเจอร์ Safety Stock ที่จะแจ้งเตือนเมื่อสินค้าใกล้หมด โดยเฉพาะในช่วงวันแคมเปญต่าง ๆ ร้านค้ายังสามารถใช้ฟีเจอร์ Virtual Bundle สร้างโปรโมชั่นแบบเซ็ต และระบบ Promotion Automation ที่สามารถจัดการโปรโมชันสินค้าแถมอัตโนมัติได้ถึง 6 รูปแบบ ช่วยให้ร้านค้าสามารถจัดโปรโมชั่นได้หลากหลายและน่าสนใจมากขึ้น พร้อมทีมงานซัพพอร์ตหลังบ้านช่วยวางแผนการขายและจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างช่วงแคมเปญได้อีกด้วย MyCloud เราการันตีว่าจะสามารถจัดการออเดอร์ให้ส่งทันภายใน 24 ชั่วโมง 99.5% รับประกันความถูกต้องของออเดอร์ที่ส่งไปถึงมือลูกค้าปลายทางได้ถึง 99.9% ทำให้การขายของคุณบน Lazada เป็นเรื่องง่ายและไร้กังวลอีกด้วย 

บทความที่เกี่ยวข้อง

อ่านเพิ่มเติม

14 ปัญหาการขายของออนไลน์มีอะไรบ้าง พร้อมวิธีการรับมือกับปัญหานี้  

ปัจจุบันการขายของออนไลน์กลายเป็นช่องทางธุรกิจที่น่าสนใจและมีโอกาสทางการเงินสูงมาก โดยเฉพาะช่องทาง E-commerce เช่น Shopee, Lazada หรือ TikTok Shop ถึงแม้จะเป็นช่องทางที่ค้าขายได้สะดวก แต่ก็มักจะควบคู่ไปกับโอกาสย่อมมีความท้าทายและอุปสรรคที่ผู้ประกอบการจำเป็นต้องเรียนรู้และรับมือ บทความนี้จะพาคุณไปทำความเข้าใจกับ 14  ปัญหาการขายของออนไลน์ที่พ่อค้าแม่ค้ามักประสบ พร้อมเแนวทางแก้ไขที่จะช่วยให้ธุรกิจออนไลน์ของคุณประสบความสำเร็จได้มากยิ่งขึ้น   ปัญหาการขายของออนไลน์ เกิดจากอะไรบ้าง  การขายของผ่านช่องทางออนไลน์ในปัจจุบันไม่ใช่แค่การวางขายสินค้าบนแพลตฟอร์มแล้วรอลูกค้าเท่านั้น แต่ยังต้องอาศัยความเข้าใจในแพลตของการค้าออนไลน์อย่างลึกซึ้ง ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมักมีสาเหตุมาจากการขาดระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ การขาดความเข้าใจในเทคโนโลยี และการไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของตลาดออนไลน์  14 ปัญหาที่พ่อค้า-แม่ค้าขายของออนไลน์ต้องเจอ   1.โดนตัดราคาขาย  การแข่งขันในตลาดออนไลน์ในยุคปัจจุบันทำให้หลายร้านค้าตกอยู่ในสภาวะการตัดราคากันอย่างหนัก แทนที่จะลดราคาลงเรื่อย ๆ ดังนั้น หากใครที่กำลังประสบปัญหาการขายของออนไลน์นี้ ควรมุ่งเน้นไปที่คุณภาพการบริการและคุณภาพสินค้าเป็นหลักแทน โดยวิธีนี้จะช่วยสร้างความแตกต่างและมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าได้ ทำให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อง่ายขึ้น  2. ไม่มีบริการหลังการขาย  การขายสินค้าออนไลน์ไม่ใช่แค่การส่งของให้ลูกค้าแล้วจบ แต่การบริการหลังการขายก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยสร้างความประทับใจและ Brand Loyalty ให้กับลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นการตอบข้อความรวดเร็ว การให้คำแนะนำ การรับประกันสินค้าหรือการรับคืนสินค้า  MyCloud ช่วยให้ธุรกิจของคุณมอบประสบการณ์หลังการขายที่ยอดเยี่ยมให้แก่ลูกค้าปลายทางของคุณ ผ่านโซลูชัน Customer Support กรณีที่สินค้าส่งถึงมือคุณแล้วพบว่าเกิดความเสียหายหรือเปิดกล่องมาแล้วสินค้าหาย เราบันทึกภาพผ่านระบบ CCTV เป็นวีดีโอ ตั้งแต่การแพ็คสินค้าไปจนถึงขั้นตอนรอขนส่งเข้ารับพัสดุ […]

เจ้าของธุรกิจออนไลน์ควรรู้! เปิดร้านขายของใน Shopee เสียค่าอะไรบ้าง?

ในยุคที่การช้อปปิ้งออนไลน์กำลังเฟื่องฟู Shopee กลายเป็นแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซยอดนิยมที่ผู้ประกอบการหลายคนเลือกเป็นช่องทางในการขายสินค้า แต่หลายคนอาจยังไม่ทราบว่าการขายของใน Shopee มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง วันนี้เราจะมาไขข้อข้องใจเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่ผู้ขายต้องจ่ายเมื่อเปิดร้านบน Shopee เพื่อให้คุณสามารถวางแผนธุรกิจและคำนวณต้นทุนได้อย่างแม่นยำ พร้อมแล้วมาดูกันว่าขายของใน Shopee เสียค่าอะไรบ้าง   ขายของใน shopee เสียค่าอะไรบ้าง ก่อนที่จะเริ่มขายสินค้าบน Shopee ผู้ขายควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่จะต้องจ่าย เพื่อให้สามารถตั้งราคาสินค้าได้อย่างเหมาะสมและทำกำไรได้ตามเป้าหมาย มาดูกันว่ามีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง   1. ค่าธรรมเนียมจากการขาย การขายของใน Shopee มีค่าธรรมเนียมการขายที่แตกต่างกันตามประเภทของร้านค้าและหมวดหมู่สินค้า ซึ่งทางช้อปปี้จะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในส่วนนี้จากทั้ง Shopee Seller ที่ลงขายแบบ Mall Sellers และ Non-Mall Sellers นั้น ทางช้อปปี้จะเริ่มเก็บค่าธรรมเนียมเมื่อได้รับคำสั่งซื้อและจัดการคำสั่งซื้อจนเสร็จ ซึ่งจะเก็บค่าธรรมเนียมตามประเภทของสินค้า ดังนี้ หมวดหมู่สินค้า Shopee Mall Seller (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) Non-Mall Seller(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) สินค้าในหมวดหมู่อิเล็กทรอนิกส์ 9% – 11% 8% สินค้าในหมวดหมู่อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ […]

14 ปัญหาการขายของออนไลน์มีอะไรบ้าง พร้อมวิธีการรับมือกับปัญหานี้  

ปัจจุบันการขายของออนไลน์กลายเป็นช่องทางธุรกิจที่น่าสนใจและมีโอกาสทางการเงินสูงมาก โดยเฉพาะช่องทาง E-commerce เช่น Shopee, Lazada หรือ TikTok Shop ถึงแม้จะเป็นช่องทางที่ค้าขายได้สะดวก แต่ก็มักจะควบคู่ไปกับโอกาสย่อมมีความท้าทายและอุปสรรคที่ผู้ประกอบการจำเป็นต้องเรียนรู้และรับมือ บทความนี้จะพาคุณไปทำความเข้าใจกับ 14  ปัญหาการขายของออนไลน์ที่พ่อค้าแม่ค้ามักประสบ พร้อมเแนวทางแก้ไขที่จะช่วยให้ธุรกิจออนไลน์ของคุณประสบความสำเร็จได้มากยิ่งขึ้น   ปัญหาการขายของออนไลน์ เกิดจากอะไรบ้าง  การขายของผ่านช่องทางออนไลน์ในปัจจุบันไม่ใช่แค่การวางขายสินค้าบนแพลตฟอร์มแล้วรอลูกค้าเท่านั้น แต่ยังต้องอาศัยความเข้าใจในแพลตของการค้าออนไลน์อย่างลึกซึ้ง ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมักมีสาเหตุมาจากการขาดระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ การขาดความเข้าใจในเทคโนโลยี และการไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของตลาดออนไลน์  14 ปัญหาที่พ่อค้า-แม่ค้าขายของออนไลน์ต้องเจอ   1.โดนตัดราคาขาย  การแข่งขันในตลาดออนไลน์ในยุคปัจจุบันทำให้หลายร้านค้าตกอยู่ในสภาวะการตัดราคากันอย่างหนัก แทนที่จะลดราคาลงเรื่อย ๆ ดังนั้น หากใครที่กำลังประสบปัญหาการขายของออนไลน์นี้ ควรมุ่งเน้นไปที่คุณภาพการบริการและคุณภาพสินค้าเป็นหลักแทน โดยวิธีนี้จะช่วยสร้างความแตกต่างและมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าได้ ทำให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อง่ายขึ้น  2. ไม่มีบริการหลังการขาย  การขายสินค้าออนไลน์ไม่ใช่แค่การส่งของให้ลูกค้าแล้วจบ แต่การบริการหลังการขายก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยสร้างความประทับใจและ Brand Loyalty ให้กับลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นการตอบข้อความรวดเร็ว การให้คำแนะนำ การรับประกันสินค้าหรือการรับคืนสินค้า  MyCloud ช่วยให้ธุรกิจของคุณมอบประสบการณ์หลังการขายที่ยอดเยี่ยมให้แก่ลูกค้าปลายทางของคุณ ผ่านโซลูชัน Customer Support กรณีที่สินค้าส่งถึงมือคุณแล้วพบว่าเกิดความเสียหายหรือเปิดกล่องมาแล้วสินค้าหาย เราบันทึกภาพผ่านระบบ CCTV เป็นวีดีโอ ตั้งแต่การแพ็คสินค้าไปจนถึงขั้นตอนรอขนส่งเข้ารับพัสดุ […]

เจ้าของธุรกิจออนไลน์ควรรู้! เปิดร้านขายของใน Shopee เสียค่าอะไรบ้าง?

ในยุคที่การช้อปปิ้งออนไลน์กำลังเฟื่องฟู Shopee กลายเป็นแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซยอดนิยมที่ผู้ประกอบการหลายคนเลือกเป็นช่องทางในการขายสินค้า แต่หลายคนอาจยังไม่ทราบว่าการขายของใน Shopee มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง วันนี้เราจะมาไขข้อข้องใจเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่ผู้ขายต้องจ่ายเมื่อเปิดร้านบน Shopee เพื่อให้คุณสามารถวางแผนธุรกิจและคำนวณต้นทุนได้อย่างแม่นยำ พร้อมแล้วมาดูกันว่าขายของใน Shopee เสียค่าอะไรบ้าง   ขายของใน shopee เสียค่าอะไรบ้าง ก่อนที่จะเริ่มขายสินค้าบน Shopee ผู้ขายควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่จะต้องจ่าย เพื่อให้สามารถตั้งราคาสินค้าได้อย่างเหมาะสมและทำกำไรได้ตามเป้าหมาย มาดูกันว่ามีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง   1. ค่าธรรมเนียมจากการขาย การขายของใน Shopee มีค่าธรรมเนียมการขายที่แตกต่างกันตามประเภทของร้านค้าและหมวดหมู่สินค้า ซึ่งทางช้อปปี้จะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในส่วนนี้จากทั้ง Shopee Seller ที่ลงขายแบบ Mall Sellers และ Non-Mall Sellers นั้น ทางช้อปปี้จะเริ่มเก็บค่าธรรมเนียมเมื่อได้รับคำสั่งซื้อและจัดการคำสั่งซื้อจนเสร็จ ซึ่งจะเก็บค่าธรรมเนียมตามประเภทของสินค้า ดังนี้ หมวดหมู่สินค้า Shopee Mall Seller (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) Non-Mall Seller(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) สินค้าในหมวดหมู่อิเล็กทรอนิกส์ 9% – 11% 8% สินค้าในหมวดหมู่อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ […]